Read more about the article พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 11
Article 11

พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 11

กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวกับการใช้งาน e-Signature กฎหมาย "ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์" หรือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) เป็นกฎหมายกลางที่รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้มีผลผูกพันและใช้บังคับได้ตามกฎหมาย ยกตัวอย่างกรณี พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 11 มาตรา 11 ห้ามมิให้ปฏิเสธการรับฟังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นพยานหลักฐาน ในกระบวนการพิจารณาตาม กฎหมายเพียงเพราะ เหตุว่าเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ในการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ จะเชื่อถือได้หรือไม่เพียงใดนั้น ให้พิเคราะห์ถึงความน่าเชื่อถือของลักษณะหรือ วิธีการที่ใช้สร้าง เก็บรักษา หรือสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์…

Continue Readingพ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 11
Read more about the article พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 10 และ 12
Article 10 and 12

พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 10 และ 12

กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวกับการใช้งาน e-Signature กฎหมาย "ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์" หรือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) เป็นกฎหมายกลางที่รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้มีผลผูกพันและใช้บังคับได้ตามกฎหมาย ยกตัวอย่างกรณี พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 10 และ 12 มาตรา 10 (e-Original) รองรับเอกสารต้นฉบับ ซึ่งมีวิธีการที่เชื่อถือได้ในการรักษาความถูกต้อง ของข้อความตั้งแต่ข้อความเสร็จสมบูรณ์และสามารถแสดงข้อความนั้นภายหลังได้ โดยความถูกต้องให้ พิจารณาถึงความครบถ้วนและไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดของข้อความ เว้นแต่การรับรองหรือบันทึกเพิ่มเติม หรือการเปลี่ยนแปลงใดๆ…

Continue Readingพ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 10 และ 12
Read more about the article พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 9, 26 และ 28
Article 9, 26 and 28

พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 9, 26 และ 28

กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวกับการใช้งาน e-Signature กฎหมาย "ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์" หรือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) เป็นกฎหมายกลางที่รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้มีผลผูกพันและใช้บังคับได้ตามกฎหมาย ยกตัวอย่างกรณี พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 9, 26 และ 28 มาตรา 9 เป็นลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบใดๆ (อักษร อักขระ ตัวเลข เสียงหรือสัญลักษณ์ อื่นใดที่สร้างขึ้นให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์) มาตรา…

Continue Readingพ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 9, 26 และ 28
Read more about the article พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 8
Article 8

พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 8

กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวกับการใช้งาน e-Signature กฎหมาย "ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์" หรือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) เป็นกฎหมายกลางที่รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้มีผลผูกพันและใช้บังคับได้ตามกฎหมาย ยกตัวอย่างกรณี พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 8 มาตรา 8 การจัดทำข้อความขึ้นเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเข้าถึงและนำกลับมาใช้ได้ โดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลงให้ถือว่าข้อความนั้นได้ทำเป็นหนังสือมีหลักฐานเป็นหนังสือ หรือมีเอกสารมาแสดงแล้ว เอกสารที่ลงนามด้วย e-Signature มีผลตามกฎหมาย ตรวจสอบได้!! ตัวอย่าง ตามเนื้อหาการ์ตูนเซ็นสัญญาจ้างงานระหว่าง เชนทร์…

Continue Readingพ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 8

การตรวจสอบลายมือชื่อดิจิทัล ไฟล์ PDF

การตรวจสอบลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature) ในเอกสารอิเล็กทรอนิกส์รูปแบบไฟล์ PDF ตามที่กฎหมายกำหนด เบื้องต้นมี 2 วิธี คือตรวจสอบลายมือชื่อดิจิทัลด้วยโปรแกรม Adobe Acrobat Reader DCตรวจสอบลายมือชื่อดิจิทัลด้วยระบบตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (TEDA Web Validation Portal) ตรวจสอบลายมือชื่อดิจิทัลไฟล์ PDF ด้วยโปรแกรม Adobe Acrobat Reader DC มีขั้นตอนดังนี้1. เปิดโปรแกรม Adobe Acrobat Reader…

Continue Readingการตรวจสอบลายมือชื่อดิจิทัล ไฟล์ PDF
Read more about the article พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 7
Article 7

พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 7

กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวกับการใช้งาน e-Signature กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) เป็นกฎหมายกลางที่รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้มีผลผูกพันและใช้บังคับได้ตามกฎหมาย ยกตัวอย่างกรณี พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 7 มาตรา 7 ห้ามมิให้ปฏิเสธความมีผลผูกพันและการบังคับใช้ทางกฎหมายของข้อความใด เพียงเพราะเหตุที่ข้อความนั้นอยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หมายความว่า มีสัญญากู้ยืมเงิน แต่เจ้าหนี้ยกหนี้ให้ทางข้อความไลน์ ไม่ต้องจ่ายคืนแล้วใช่ไหม ? ตัวอย่าง ตามเนื้อหาการ์ตูนกู้ยืมเงินระหว่าง ซงคัง และ พัคแจออน…

Continue Readingพ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 7

ลองจินตนาการภาพ.. ประโยชน์ขององค์กรไร้กระดาษ

ลองนึกภาพว่าเอกสารทุกอย่างในธุรกิจของคุณไม่ว่าจะเป็นสัญญาทุกประเภทใบแจ้งหนี้ใบสั่งซื้อรายงานใบแจ้งยอดธนาคารทุกฉบับทั้งหมดนี้ถูกจัดเก็บไว้ในที่เดียวและสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่บนอุปกรณ์ใดก็ได้ตลอดเวลา คุณไม่ต้องขอให้หัวหน้าคุณเซ็นอนุมัติจ่ายเงินใหม่เพื่อทดแทนเอกสารที่สูญหายธุรกิจไม่เสียหายเนื่องจากเครื่องพิมพ์เอกสารทำงานมีปัญหาหรือหมึกหมดหรือไม่ต้องจ่ายเงินขยายสำนักงานสำหรับเพิ่มพื้นที่ตู้เก็บเอกสารหาก บริษัท ของคุณเป็นองค์กรไร้กระดาษเพียงแค่คุณเปิดโทรศัพท์กดปุ่มและดูเอกสารของคุณจะถูกจัดเก็บโดยอัตโนมัติไปยังที่ที่เหมาะสมหรือเอกสารเหล่านั้นจะถูกส่งไปยังผู้รับที่คุณต้องการอย่างปลอดภัย หากคุณเป็นกรรมการผู้จัดการที่ดูแล บริษัท ในเครือหลาย บริษัท ในแต่ละวันคุณต้องเดินทางไปประชุมหลายสถานที่ทั้งที่ บริษัท ในเครือและที่ บริษัท ของลูกค้าการที่หลายส่วนงานต้องรอให้คุณเดินทางไปลงนามเอกสารในแต่ละที่ทำให้ในบางครั้งการทำงานหลาย ๆ อย่างช้าเกินกว่าที่ควรจะเป็นหาก บริษัท ของคุณเป็นองค์กรไร้กระดาษคุณสามารถลงนามเอกสารได้ในระหว่างเดินทางไปทำงานระหว่างพักจากการประชุมสัมมนาหรือแม้แต่ระหว่างที่คุณพาครอบครัวไปพักผ่อนที่ต่างประเทศคุณจะไม่ใช่ส่วนที่ทำให้ธุรกิจของคุณขับเคลื่อนช้าอีกต่อไป ลองนึกภาพต่อไปอีกว่าเอกสารในธุรกิจของคุณแต่ละฉบับถูกเก็บไว้โดยได้รับการป้องกันด้วยการเข้ารหัสและรหัสผ่านที่คอมพิวเตอร์สร้างขึ้นซึ่งมีเพียงคนที่มีสิทธิ์เท่านั้นที่จะเข้าถึงเอกสารของคุณได้เอกสารที่มีความปลอดภัยสูงเหล่านี้ทั้งหมดได้รับการสำรองข้อมูลโดยอัตโนมัติโดยสำเนาเอกสารดิจิทัลนี้จะถูกจัดเก็บอยู่ต่างที่กับเอกสารตั้งต้นเพื่อสร้างความมั่นใจว่าเอกสารจะอยู่ตลอดกาลแม้ว่าแหล่งเก็บข้อมูลหลักจะถูกไฟไหม้หรือได้รับความเสียหายจากภัยธรรมชาติเอกสารของคุณจะยังมีอยู่พร้อมใช้งานเสมอ ด้วยประโยชน์ทั้งหมดนี้ช่วยให้คุณประหยัดเงินได้หลายล้านบาทต่อปีหรือมากกว่านั้น และยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานทางธุรกิจและประสิทธิภาพในการบริการลูกค้าได้อย่างมาก สามารถเริ่มต้นได้ตั้งแต่วันนี้ทดลองใช้ zDOX ได้ฟรีโดยเข้าไปที่ https://www.zdox.net และ สามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคชันบนมือถือได้ที่

Continue Readingลองจินตนาการภาพ.. ประโยชน์ขององค์กรไร้กระดาษ
Read more about the article อะไรคือเหตุผลที่พวกคุณยังคงใช้กระดาษภายในองค์กร ??
what make you use paper

อะไรคือเหตุผลที่พวกคุณยังคงใช้กระดาษภายในองค์กร ??

แม้การทํางานแบบไม่ใช้กระดาษ (Paperless) จะมีข้อได้ดีด้านการลดต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน และความปลอดภัยที่ชัดเจน แต่การนํามาใช้จริงก็ยังไม่แพร่หลายเท่าที่ควร คุณคิดว่าเหตุผลอันดับหนึ่งที่องค์กรไม่เปลี่ยนเป็นองค์กรไร้กระดาษคืออะไร ? 47% ของพนักงานที่ได้รับการสำรวจกล่าวว่าเหตุผลอันดับต้น ๆ ของการไม่เลิกใช้กระดาษคือไม่มีคำสั่งให้ทำจากผู้บริหาร โดยพื้นฐานแล้วพนักงานส่วนใหญ่พร้อมและเต็มใจที่จะไม่ใช้กระดาษ มนุษย์ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง เจ้าของธรุกิจขนาดเล็กหลายคนมีทัศนคติว่า “ธุรกิจดําเนินได้ด้วยดีอยู่แล้วยังไม่เห็นเหตผลที่ต้องเปลี่ยน” รวมถึงธุรกิจดั้งเดิม เช่น อุตสาหกรรมกฎหมาย มีวิธีการดําเนินธุรกิจสืบทอดกันมายาวนานซึ่งยากที่จะเปลี่ยนแปลงหรือธุรกิจขนาดเล็กที่มีพนักงานไม่กี่คนอาจหรือไม่มีเวลาหรือไม่มีเงินทุนซื้อซอฟต์แวร์แปลงเอกสารและฝึกอบรมพนักงาน เป็นต้น ธุรกิจที่มีผลประกอบการที่ดีมักจะใช้เวลาและทรัพยากรส่วนใหญ่ทุ่มไปยังส่วนงานที่สร้างยอดขายมากที่สุด ทําให้ลืมไปว่าการที่มียอดขาย 100 บาท ไม่ได้ทําให้เกิดกําไร 100 บาท แต่การลดค่าใช้จ่าย 100…

Continue Readingอะไรคือเหตุผลที่พวกคุณยังคงใช้กระดาษภายในองค์กร ??

กรมบัญชีกลาง ประกาศให้ใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการจัดซื้อจัดจ้างได้…

หน่วยงานของรัฐได้นำรูปแบบการดำเนินการด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการทำงานมากขึ้น เพื่อความสะดวก คล่องตัว ลดขั้นตอนในการดำเนินงาน และลดการใช้กระดาษ เช่น ระบบการอนุมัติ การอนุญาตหรือการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น สถานการณ์ปัจจุบันหน่วยงานของรัฐ ได้ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติงานนอกสถานที่ตั้งของหน่วยงานของรัฐ ซึ่งอาจส่งผลให้หน่วยงานของรัฐไม่สามารถดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๔๖๐ เซ่น กรณีการรับข้อเสนอของผู้ประกอบการบางวิธีที่กำหนดให้ยื่นข้อเสนอโดยตรงต่อหน่วยงานของรัฐ โดยไม่ผ่านทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e - GP) และการลงนามในสัญญา เป็นต้น คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ (คณะกรรมการวินิจฉัย) โดยได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พิจารณาแล้วเห็นว่า ปัจจุบันพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๔๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม…

Continue Readingกรมบัญชีกลาง ประกาศให้ใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการจัดซื้อจัดจ้างได้…

กรมสรรพากรให้หักลดหย่อนภาษี 2 เท่า เพื่อสนับสนุน SMEs สู้โควิด!!

คณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการให้ผู้ประกอบการ SMEs หักค่าใช้จ่ายได้ถึง 2 เท่า สำหรับค่าซื้อหรือจ้างทำ หรือค่าใช้บริการโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือซอฟต์แวร์ (Software) ที่จ่ายให้แก่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างทำหรือผู้ให้บริการ ที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล เฉพาะในส่วนที่ไม่เกิน 100,000 บาท สำหรับ รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2564 แต่ไม่เกินวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ SMEs พร้อมปรับเปลี่ยนธุรกิจก้าวสู่เศรษฐกิจดิจิทัล ดร.เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ อธิบดีกรมสรรพากร…

Continue Readingกรมสรรพากรให้หักลดหย่อนภาษี 2 เท่า เพื่อสนับสนุน SMEs สู้โควิด!!